วันอาทิตย์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2560

เครื่องดูดฝุ่น ตอนที่ 1


ในปัจจุบันนี้เครื่องดูดฝุ่นเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่นิยมกันมากในชีวิตประจาวัน เครื่องดูดฝุ่น เป็นเครื่องช่วยทาความสะอาดภายในบ้านโดยใช้ระบบสุญญากาศดูดผงฝุ่นและเศษขยะต่างๆเข้าไปเก็บในที่เก็บ เครื่องดูดฝุ่นแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ เครื่องดูดฝุ่นแบบถุงและเครื่องดูดฝุ่นแบบทรงกระบอกใบพัดที่ใช้ในเครื่องดูดฝุ่นเป็นใบพัดประเภทเดียวกับพัดลมดูดอากาศและใช้มอเตอร์แบบยูนิเวอร์แซล
2.5.2 หลักการทางานของเครื่องดูดฝุ่น
จะเริ่มทางานได้ก็ต่อเมื่อเราเปิดสวิตซ์พัดลมดูดซึ่งจะทาหน้าที่ดูดเอาฝุ่นละอองเข้ามาตามท่อดูด หลังจากนั้นฝุ่นจะถูกเก็บไว้ที่ถุงเก็บหรือกล่องเก็บฝุ่น เครื่องดูดฝุ่นชนิดนี้เป็นประเภทแยกส่วนซึ่งจะช่วยทำความสะอาดพื้นโดยมีแปรงปัดฝุ่นช่วยในการปัดฝุ่นให้ฟุ้งกระจายขึ้นจากพื้นเพื่อให้ดูดฝุ่นได้สะดวกยิ่งขึ้น




ส่วนประกอบของเครื่องดูดฝุ่น

ตัวตรวจรู้อินฟาเรดสาหรับตรวจจับวัตถุ
เซนเซอร์สาหรับการตรวจจับวัตถุที่ขวางกั้นด้วยแสงอินฟาเรด โดยใช้หลักการส่งคลื่นแสงไปกระทบกับวัตถุและตรวจ จับการสะท้อนกลับของแสง ในระยะ 20 ซม.


เซนเซอร์แสงอินฟาเรด รุ่น IRD-202

คุณสมบัติของเซนเซอร์รุ่น IRD-202
ก) เซนเซอร์ที่ตรวจจับวัตถุด้วยแสงอินฟาเรด
ข) ความถี่ของชุดส่งสัญญาณอินฟาเรด 38 kHz
ค) มีเอาต์พุต จานวน 2 ชุด สามารถกาหนดระยะการตรวจจับได้
ง) ระยะการตรวจจับสูงสุดที่ 20 ซม. เมื่อทดสอบกับวัตถุสีขาว
จ) สัญญาณเอาต์พุต 5 V สามารถต่อเข้ากับขาสัญญาณไมโครคอนโทรลเลอร์ได้โดยตรง



โครงสร้างและพอร์ตการใช้งานของ IRD-202

โครงสร้างและพอร์ตของ IRD-202


2.1 IR-Tx ตัวส่งสัญญาณอินฟาเรด
2.2 IR-Rx ตัวรับสัญญาณอินฟาเรด
2.3 Output-1 หลอดแอลอีดีแสดงสถานะการทางานของเอาต์พุต 1
2.4 Output-2 หลอดแอลอีดีแสดงสถานะการทางานของเอาต์พุต 2
2.5 Teaching Pin เป็นขาสัญญาณสาหรับการปรับตั้งระยะการตรวจจับของเซนเซอร์รายละเอียดการปรับตั้งจะได้กล่าวในลาดับต่อไป
2.6 เอาต์พุตพอร์ตสัญญาณเอาต์พุต และขาต่อแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้าให้กับโมดูลมีตาแหน่งขาสัญญาณดังนี้

พอร์ตเอาต์พุตและตาแหน่งขาต่อกับแหล่งจ่ายไฟฟ้า

ขั้นตอนการปรับตั้งระยะการตรวจจับ
เซนเซอร์แสงอินฟาเรดรุ่น IRD-202 ควบคุมการทางานด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ และออกแบบให้มีฟังก์ชันเรียนรู้ระยะการตรวจจับหรือที่เรียกว่า Teaching Function ซึ่งมีความสะดวกและสามารถปรับตั้งระยะได้ง่าย การทางานของเอาต์พุต 1 และเอาต์พุต 2 สามารถทางานได้อย่างอิสระดังนั้นการปรับตั้งระยะการตรวจจับทั้งสองจึงเป็นอิสระต่อกัน


การปรับตั้งระยะการตรวจจับของเอาต์พุต 1
ก) ป้อนแรงดันไฟเลี้ยงให้กับเซนเซอร์แสงอินฟาเรด IRD-202 (5V / 0V)
ข) จัดวางวัตถุที่ต้องการตรวจจับให้อยู่ห่างจากเซนเซอร์ในระยะที่ต้องการ แต่ไม่เกินกว่าระยะที่สามารถตรวจจับได้


การปรับตั้งระยะการตรวจจับของเอาต์พุต 1


หมายเหตุ : เซนเซอร์แสงอินฟาเรด รุ่น IRD-202 ใช้หลักการส่งแสงอินฟาเรดออกไปกระทบกับวัตถุแล้วจึงตรวจวัดแสงที่สะท้อนกลับมา ดังนั้น ขนาดและสีของวัตถุจึงเป็นตัวแปรสาคัญต่อระยะทางการตรวจจับโดยตรง เช่น วัตถุสีขาว สามารถสะท้อนแสงได้ดีกว่าสีดา จึงสามารถตรวจจับได้ไกลกว่า เป็นต้น

ค) กาหนดให้เซนเซอร์แสงอินฟาเรด IRD-202 เรียนรู้ระยะการตรวจจับสาหรับ เอาต์พุต 1 โดยช็อตขั้ว 1 และ T เข้าด้วยกันหรืออาจใช้ปลาย ไขควง ซึ่งจะสังเกตเห็นหลอดแอลอีดี ของเอาต์พุต 1 ติดกระพริบ เป็นการแสดงให้ทราบว่าวัตถุที่ต้องการตรวจสอบ นั้นอยู่ในระยะที่สามารถตรวจจับได้พร้อมกับจดจาระยะของวัตถุ โดยสังเกตให้หลอดแอลอีดีกระพริบมากกว่า 3 ครั้งขึ้นไป เพื่อให้ระบบได้เรียนรู้ระยะการตรวจจับได้อย่างสมบูรณ์จากนั้นจึงปลดขั้ว 1 และ T ออกจากกัน เป็นอันเสร็จสิ้นขั้นตอนการปรับตั้งระยะการตรวจจับของเอาต์พุต 1 และระยะการปรับตั้งจะถูกบันทึกไว้ในหน่วยความจา EEPROM ซึ่งจะยังคงอยู่แม้ว่าจะหยุดจ่ายไฟเลี้ยงให้กับระบบ


การปรับตั้งระยะการตรวจจับของเอาต์พุต 2

ก) ป้อนแรงดันไฟเลี้ยงให้กับเซนเซอร์แสงอินฟาเรด IRD-202 (5V / 0V)
ข) จัดวางวัตถุที่ต้องการตรวจจับให้อยู่ห่างจากเซนเซอร์ในระยะที่ต้องการ แต่ไม่เกินกว่าระยะที่สามารถตรวจจับได้
ค) กาหนดให้ IRD-202 เรียนรู้ระยะการตรวจจับสาหรับเอาต์พุต 2 โดยช็อตขั้ว 2 และ T เข้าด้วยกันหรืออาจใช้ปลายไขควง ซึ่งจะสังเกตเห็นหลอดแอลอีดี ของเอาต์พุต 2 ติดกระพริบ เป็นการแสดงให้ทราบว่าวัตถุที่ต้องการตรวจสอบนั้นอยู่ในระยะที่สามารถตรวจจับได้ พร้อมกับจดจาระยะของวัตถุโดยสังเกตให้หลอดแอลอีดี กระพริบมากกว่า 3 ครั้งขึ้นไป เพื่อให้ระบบได้เรียนรู้ระยะการตรวจจับได้อย่างสมบูรณ์ จากนั้นจึงปลดขั้ว 2 และ T ออกจากกัน เป็นอันเสร็จสิ้น


ขั้นตอนการปรับตั้งระยะการตรวจจับของเอาต์พุต 2 และระยะการปรับตั้งจะถูกบันทึกไว้ในหน่วยความจา EEPROM ซึ่งข้อมูลจะยังคงอยู่แม้ว่าจะหยุดจ่ายไฟเลี้ยงให้กับระบบ

การปรับตั้งระยะการตรวจจับของเอาต์พุต 2
การอินเตอร์เฟสกับไมโครคอนโทรลเลอร์
โมดูลIRD-202 สามารถทางานได้ด้วยแรงดันไฟเลี้ยง 5V ของระบบไมโครคอนโทรลเลอร์ทั่วๆ ไปได้ทันทีอีกทั้งยังให้สัญญาณเอาต์พุตเป็นแบบ TTL จึงสามารถต่อเข้ากับพอร์ตของไมโครคอนโทรลเลอร์ได้โดยตรง เอาต์พุต 1 และ 2 จะให้การทางานเมื่อสามารถตรวจจับวัตถุได้ในลักษณะลอจิก “0” หรือที่เรียกว่า Active Low

การทางานของเซนเซอร์เมื่อตรวจจับวัตถุได้ในตาแหน่งที่ 2 และ 1 ตามลาดับ
ซึ่งได้กาหนดไว้จากขั้นตอนการปรับตั้งที่ผ่านมา

ตัวตรวจรู้อินฟาเรดสาหรับตรวจจับเส้น
ตัวตรวจรู้อินฟาเรดสา หรับตรวจจับเส้น ทา งานที่ลอจิ “0” ตรวจจับด้วยวัตถุสีขาวและมี
ระยะตรวจจับสูงสุด 2 เซนติเมตร

ลักษณะของตัวตรวจรู้อินฟาเรดสา หรับตรวจจับเส้น

รายละเอียดทั่วไปของตัวตรวจรู้อินฟาเรดสาหรับตรวจจับเส้น
รายละเอียดของโครงสร้างและการทา งานพื้นฐานของตัวตรวจรู้อินฟาเรดสา หรับ
ตรวจจับเส้นมีดังนี้
ก) โมดูลเซนเซอร์ตรวจจับเส้นด้วยเซนเซอร์อินฟาเรดจา นวน 1 ชุด
ข) มีเอาต์พุตให้การทา งานแบบ Active Low (Default) และสามารถปรับเป็นแบบ
Active High ได้
ค) สามารถปรับความไวในการตรวจจับได้โดยการปรับตัวต้านทานปรับค่า
ง) มีหลอดแอลอีดี แสดงสถานะการทา งาน
จ) ระยะการตรวจจับสูงสุด 2 ซม. ทดสอบด้วยวัตถุสีขาว
ช) ระดับสัญญาณเอาต์พุตเป็น TTL-5V สามารถต่อเข้ากับขาสัญญาณ
ไมโครคอนโทรลเลอร์ได้โดยตรง
ซ) ใช้กับแรงดันไฟฟ้า 5VDC











ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น